วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557

พระพุทธเจ้าสอนอะไร โดยนายแพทย์ ชิน โอสถ หัสบำเรอ

...สิ่งอะไรเราได้บอกแล้ว เราได้บอกแล้วว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับทุกข์ นี้ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ก็เพราะเหตุไรเราจึงบอก เพราะสิ่งนั้น ประกอบด้วยประโยชน์ เป็นพรหมจรรย์เบื้องต้น ย่อมเป็นไปเพื่อความหน่าย ความคลายกำหนัด...นิพพาน.... (สีสปาสูตร/สัง.ม./๑๙/๑๗๑๖-๑๗๑๗)
   เคยมีเพื่อนชาวต่างประเทศมาปรารภให้ฟังว่า พระพุทธศาสนาไม่เหมาะสำหรับชาวตะวันตกอย่างเขา จึงได้ย้อนถามเขาไปไว่า เขาไม่มีความทุกข์เพราะความแก่ชรา ความเจ็บป่วย ความตาย ความพลัดพรากจากคนที่รัก หรือเพราะความปราถนาอยากได้สิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้นบ้างหรอกหรือ เขตอบว่าหามิได้ แท้ที่จริงแล้วเขามีทุกข์ดังกล่าวมาแล้วนั้นเช่นเดียวกับชาวตะวันออกทุกประการ เมื่อวักถามกันไปถึงที่สุดแล้วก็ได้ความว่า ที่เขากล่าาวว่าพระพุทธศาสนามีคำสอนเกี่ยวกับเรื่องของความทุกข์
   ชาวต่างประเทศที่อยู่ห่างไกลพระพุทธศาสนาก็ช่างเขาเถิด น่าห่วงแต่คนทั้งหลายที่อยู่ในแดนพระพุทธศาสนานี้มากกว่า สำหรับคนที่นับถือศาสนาอื่นๆ ก็ช่างเขาอีกนั่นแหละ
   อยากจะขอแสดงความห่วงใยแต่เฉพาะบรรดาผู้ที่แสดงตนว่านับถือพระพุทธศาสนาแล้วไม่ทราบว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไรนั้นให้มากที่สุด เพราะถ้าท่านนับถือพระพุทธศาสนาแล้วไม่ทราบว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร ความนบถือของท่านก็เป็นโมฆะเป็นของเปล่าประโยชน์

   และตัวท่านก็เป็นผู้ที่สมควรจะได้ชื่อว่า โฆษบุรุษ หรือ คนเปล่า
   เช่นเดียวกับผู้ที่รู้แล้วแต่ไม่นำไปปฏิบัติ หรือนำไปปฏิบัติแต่ก็ไม่ถูกต้องครบถ้วนบริบูรณ์ตามที่ท่านสอนไว้
   เพราะฉะนั้น ชาวพุทธทุกคนจึงควรทราบกันไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้ตรัสสอนความจริงไว้สี่ประการด้วยกัน คือ
   ๑. ความจริงเรื่องทุกข์คืออะไร
   ๒. ความจริงเรื่องสาเหตุของความทุกข์คืออะไร
   ๓. ความจริงเรื่องความดับทุกข์คืออะไร
   ๔. ความจริงเรื่องทางปฏิบัติให้ถืงความดับทุกข์คืออะไร
มีคำอธิบายโดยย่อดังนี้
   ทุกข์ ได้แก่ ควงามเกิดมามีอัตภาพร่างกาย ความแก่ชรา ความตาย ความโศกเศร้า ความร่ำไห้รำพัน ความเจ็บกาย ความเจ็บใจ ความคับแค้น ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่ชอบใจ ความได้มาซึ่งสิ่งที่ไม่รักไม่ชอบ ความปราถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น
   สาเหตุของทุกข์ ได้แก่ ตัณหา คือความปราถนาอยากได้สิ่งนั้นสิ่งนี้
   ความดับทุกข์ ได้แก่ ความดับตัณหา
   ทางปฏิบัติให้ถือความดับทุกข์  ได้แก่ ข้อปฏิบัติแปดประการต่อไปนี้ คือ
๑. ความเห็นชอบ (สัมมาทิฏฐิ๗
๒. ความดำริชอบ (สัมมาสังกัปปะ)
๓. ความมีวาจาชอบ (สัมมาวาจา)
๔. ความประพฤติชอบ (สัมมากัมมันตะ)
๕. ความมีอาชีพชอบ (สัมมาอาชีวะ)
๖. ความเพียรชอบ (สัมมาวายามะ)
๗. ความตั้งสติไว้ชอบ (สัมมาสติ)
๘. ความมีสมาธิชอบ (สัมมาสมาธิ)
(จาก มหาสติปัฏฐานสูตร ๒๒/ที.ม./๑๐/๒๙๙)
   อันที่จริงแล้ว สำหรับท่านที่สนใจในการปฏิบัติธรรมต่อไปนั้น ขอให้รู้และจดจำไว้ให้ได้เพียงเท่านี้ก่อนก็พอที่จะนำไปใช้ในทางปฏิบัติได้แล้ว ผลของการปฏิบัติตามขั้นตอนที่ถูกต้องจะก่อให้เกิดปัญญารู้แจ้งเรื่องของความทุกข์ตามความเป็นจริงโดยละเอียดในภายหลัง
   สิ่งที่สำคัญที่ต้องรู้ให้กระจ่างแจ้งก่อนลงมือปฏิบัติก็คือว่า
การปฏิบัติธรรมนั้นคืออะไร
เพราะนั่นก็คือ
หัวใจพระพุทธศาสนา
   คำว่าการปฏิบัติธรรมในหนังสือเล่มนี้นั้น ต้องขอให้ทำความเข้าใจเสียแต่บัดนี้ว่าหมายถึง การปฏิบัติตามทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หรือ มรรคมีองค์แปด อันประกอบไปด้วยข้อปฏิบัติแปดประการซึ่งเมื่อจัดรวมกลุ่มเข้าด้วยกันก็จะได้เป็นสามกลุ่มคือ
กลุ่มศีล (ศีลขันธ์) ได้แก่ 
- ความมีวาจาชอบ (สัมมาวาจา) คือ ไม่พูดเท็จ ไม่พูดหยาบ ไม่พูดส่อเสียดให้คนแตกกัน ไม่พูดเพ้อเจ้อไร้สาระ
- ความประพฤติชอบ (สัมมากัมมันตะ) คือ ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม
- ความมีอาชีพชอบ (สัมมาอาชีวะ) คือ มีอาชีพสุจริต
กลุ่มสมาธิ (สมาธิขันธ์) ได้แก่
- ความเพียรชอบ (สัมมาวายามะ) คือ เพียรปฏิบัติธรรม
- ความตั้งสติไว้ชอบ (สัมมาสติ) คือ ตั้งสติเพื่อให้เกิดสมาธิชอบ
- ความมีสมาธิชอบ (สัมมาสมาธิ) คือ ความที่จิตตั้งมั่นเป็นสมาธิในระดับแน่วแน่
กลุ่มปัญญา (ปัญญาขันธ์) ได้แก่
- ความเห็นชอบ (สัมมาทิฏฐิ) คือ เห็นความจริงเรื่องทุกข์ เป็นต้น
- ความดำริชอบ (สัมมาสังกัปปะ) คือ นึกคิดทางกุศล ไม่คิดเบียดเบียนใคร
 ต่อไปจะเรียกโดยย่อว่า ศีล สมาธิ ปัญญา โปรดจำกันไว้ง่ายๆ ว่า
พระพุทธเจ้าสอนเรื่องทุกข์
และทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์นั้น

วันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2557

กลอนเรื่องพระเจ้าทรงธรม ผู้ค้นพบรอยพระพุทธบาท ที่วัดพระพุทธบาท

พระเจ้าทรงธรรม
      แก้วเก้าเนาวรัตน์รุ้ง                   ระรองเรือง
เพียงพิมานแมนเมือง                      มิ่งฟ้า
ทวีธรรมเทิดประเทือง                     ประเทศทิพย์ เทียมฤา
มงกุฏอยุธเยศหล้า                          แหล่งเบื้องบุญเสริม
     จันทร์เจิมเติมแต่งตั้ง                 ตังวาย
บูชิตชลิตฦาสาย                            สรรพพร้อม
บานศรีบัตรพลีถวาย                       ถวิลราช
ประณีตประณตน้อม                       นบไท้ทรงธรรม
บุญเตือน     ศรีวรพจน์ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร ประพันธ์

วันเสาร์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2557

ประวัติผู้ทำวิทยานิพนธ์

ประวัติผู้ทำวิทยานิพนธ์

ชื่อ-ชื่อสกุล                นางสาวปิลันธร มั่นพันธ์พาณิชย์
วัน เดือน ปีเกิด           วันที่ 5  เดือน พฤศจิกายน  พ.. 2523
สถานที่อยู่ปัจจุบัน        121 หมู่ 1 ต.หนองโดน อ.หนองโดน จ.สระบุรี  รหัสไปรษณีย์ 18190
ประวัติการศึกษา         พ.ศ. 2546   ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.)
                                            สาขา ภาษาอังกฤษ
                                            สถาบันราชภัฏเทพสตรี  จังหวัดลพบุรี
                             พ.ศ. 2555   ครุศาสตร์มหาบัณฑิต (ค.ม.)
                                            สาขาวิชา หลักสูตรและการสอน
                                            มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี


ภาคผนวก ฉ (3)

ตาราง 20 เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับ
             การสอนตามทฤษฎีเชิงสังคมและวัฒนธรรมของไวก็อตสกี

เลขที่
คะแนนก่อนเรียน
คะแนนหลังเรียน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
15.00
26.00
18.00
20.00
29.00
25.00
38.00
32.00
14.00
18.00
24.00
14.00
14.00
29.00
21.00
15.00
19.00
16.00
20.00
23.00
20.00
21.00
14.00
28.00
24.00
16.00
27.00
26.00
34.00
22.00
33.00
35.00
40.00
29.00
17.00
20.00
16.00
16.00
21.00
29.00
22.00
22.00
23.00
23.00
20.00
25.00
22.00
24.00
21.00
24.00
32.00
17.00



ตาราง 20 (ต่อ)

เลขที่
คะแนนก่อนเรียน
คะแนนหลังเรียน
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
16.00
18.00
18.00
21.00
10.00
22.00
22.00
31.00
27.00
16.00
16.00
24.00
27.00
24.00
32.00
14.00
42.00
25.00
18.00
14.00
20.00
24.00
28.00
19.00
20.00
26.00
29.00
30.00
22.00
35.00
29.00
20.00
20.00
23.00
30.00
25.00
35.00
30.00
21.00
26.00
32.00
19.00
18.00
31.00
21.54
25.17
S.D.
6.65
5.83
         




ตาราง 21   เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนกับหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
              ที่ได้รับการสอนตามทฤษฎีโครงสร้างทางความรู้

เลขที่
คะแนนก่อนเรียน
คะแนนหลังเรียน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
24.00
24.00
25.00
29.00
14.00
21.00
24.00
25.00
29.00
18.00
20.00
31.00
33.00
19.00
21.00
15.00
26.00
17.00
26.00
16.00
17.00
22.00
17.00
21.00
21.00
18.00
32.00
22.00
31.00
26.00
23.00
26.00
32.00
34.00
33.00
20.00
23.00
37.00
35.00
25.00
26.00
16.00
28.00
20.00
20.00
32.00
31.00
28.00
26.00
23.00
21.00
27.00



ตาราง 21 (ต่อ)

เลขที่
คะแนนก่อนเรียน
คะแนนหลังเรียน
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
20.00
19.00
17.00
21.00
24.00
28.00
21.00
22.00
22.00
25.00
29.00
22.00
21.00
18.00
14.00
20.00
23.00
26.00
19.00
18.00
22.00
23.00
28.00
23.00
21.00
28.00
33.00
25.00
20.00
25.00
29.00
29.00
20.00
33.00
19.00
30.00
20.00
30.00
31.00
27.00
26.00
37.00
21.79
26.68
S.D.
4.42
5.19






ตาราง 22  การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
             ปีที่
3 ก่อนเรียนทั้ง 2 กลุ่มทดลอง

กลุ่มทดลอง
S.D.
T
P
ก่อนเรียนกลุ่มทดลอง 1
21.54
6.65
.394
.695
ก่อนเรียนกลุ่มทดลอง 2
21.79
4.42
*P .01

            จากตาราง 22 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้ง 2 กลุ่มทดลองมีความสามารถในการอ่านก่อนเรียน ไม่แตกต่างกัน